การเขียนรูปแบบ Wikiรูปแบบ Wiki เป็นการเขียนให้ง่ายต่อการอ่าน ซึ่งจะมีการเปลี่ยนรูปแบบเป็น XHTML เมื่อแสดงผล ประโยชน์หลัก ๆ เลยก็คือคุณไม่จำเป้นต้องเรียนการเขียน html เพื่อให้ได้รูปแบบที่สวยงามตามต้องการ และนั่นทำให้ข้อความที่คุณเขียนธรรมดา ดูดี เวลาอ่าน แม้จะเป็นช่วง ก่อน การเปลี่ยนรูปแบบ เป็นอีกทางเลือกที่จะบันทึก ไฟล์เวิร์ดเป็น html เพื่อที่จะแก้ไข source ออนไลน์ได้ คุณควรใส่ ตัวหนังสือธรรมดาลงไป มี ตัวอักษรพิเศษ ที่สามารถเพิ่มลงไปได้ รูปแบบบล็อคย่อหน้าบล็อคในแต่ละย่อหน้านั้นใช้บรรทัดว่างหนึ่งบรรทัดทำให้แยกกัน หากต้องการใส่รูปแบบพิเศษดังกล่าวลงในย่อหน้า ให้เพิ่มโค้ดตัวอักษรพิเศษลงในตัวอักษรแรกของบรรทัดที่หนึ่ง แล้วตามด้วยช่องว่าง
รูปแบบรายการรายการง่าย ๆ สามารถสร้างขึ้นได้โดยการใส่ตัวอักษรแบบพิเศษลงไปที่จุดเริ่มของแต่ละบรรทัดตามด้วยช่องว่าง เมื่อพิมพ์รายการจบแล้วให้ทิ้งบรรทัดว่าง ๆ ไว้หนึ่งบรรทัด ขณะนี้เราไม่สมารถที่จะใช้รูปแบบรายการหลาย ๆ แบบรวมกันได้ อักษรพิเศษมีตัวอย่างข้างล่างนี้
รูปแบบในบรรทัดรูปแบบนี้ตัวอักษรพิเศษสามารถปรากฎอยู่ในส่วนใดก็ได้ของบรรทัด แต่ไม่สามารถที่จะสร้างข้ามบรรทัดได้ ตัวอย่าง
AcronymsAcronym tagging is acheived by placing the acronym in capital letters followed by the description is parenthesis. There must be no space between the acronym and the parenthesis. Example... HTML(Hypertext Markup Language) Hyper LinksLinks can be placed in the text and are followed (with no spaces) by the text to be displayed in brackets. Example: http://www.google.com/(Search Now) will be converted to Search Now.Moodle Module LinksIf you know the Moodle id number (look for ?id=nn at the end of a module address) and the module name, you can link directly to that resource using the syntax: ModuleName:nn(Description Text) eg, resource:36(My New Page) forum:10(Jump to forum) Automatic reformatingMany commonly used functions are converted into their XHTML equivalents automatically.. The main ones are as follows...
|
หน้าแรกของไฟล์ช่วยเหลือทั้งหมด
ห้องเรียนอิเลคทรอนิคส์ พัฒนาโดย ศูนย์พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) |